2. ส่วนประกอบของพีระมิด
พีระมิดแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ พีระมิดตรงและพีระมิดเอียง
พีระมิดตรง หมายถึง พีระมิดที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า มีสันยาวเท่ากันทุกเส้น จะมีสูงเอียงทุกเส้นยาวเท่ากัน
และส่วนสูงตั้งฉากกับฐานที่จุดซึ่งอยู่ห่างจากจุดยอดมุมของรูปเหลี่ยมที่เป็นฐานเป็นระยะเท่ากัน มีหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
 ส่วนกรณีที่สันทุกสันยาวไม่เท่ากัน สูงเอียงทุกเส้นยาวไม่เท่ากัน เรียกว่า พีระมิดเอียง





1. การเรียกชื่อปริซึม

ปริซึมมีหลายลักษณะขึ้นอยู่กับหน้าตัดของรูปนั้นๆ การเรียกชื่อปริซึมนิยมเรียกชื่อตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน

  2. ส่วนประกอบของปริซึม
3. พื้นที่ผิวของปริซึม
      3.1) พื้นที่ผิวข้าง  พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน × ความสูง
      3.2) พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่หน้าตัดหัวท้าย

4. ปริมาตรของปริซึม
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × สูง

1. ส่วนประกอบของทรงกลม
2. พื้นที่ผิวของทรงกลม พื้นที่ผิวของทรงกลม = 4¶r2
3. ปริมาตรของทรงกลม ปริมาตรของทรงกลม =  4/3¶r3 เมื่อ r แทน รัศมีของวงกลม

1. ส่วนประกอบของทรงกระบอก

(ซ้าย คือ ทรงกระบอกตรง, ขวา คือ ทรงกระบอกเอียง)

ทรงกระบอกกลวง



2. พื้นที่ผิวของทรงกระบอก

2.1) พื้นที่ผิวข้าง

เมื่อคลี่ส่วนของหน้าตัด และส่วนข้างออกมา จะได้ดังรูป

1) พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก เมื่อคลี่ออกมา เทียบได้กับรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ดังนั้น พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2¶rh
2) พื้นที่ฐาน หรือพื้นที่หน้าตัด เป็นพื้นที่รูปวงกลม = ¶r2
2.2) พื้นที่ผิว
พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐานทั้งสอง
พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2¶rh + 2(¶r2)
เมื่อ r แทนรัศมีของฐาน
และ h แทนความสูงทรงกระบอก


3. ปริมาตรของทรงกระบอก

ปริมาตรของทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูง

หรือ ปริมาตรของทรงกระบอก = ¶r2h



1. ส่วนประกอบของกรวย


2. ความสัมพันธ์ของด้านรัศมี (r) ความสูง (h) และ สูงเอียง (l)


ตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส จะได้ว่า
r2 + h2 = l2


 
 
ลิงค์สำรอง ดาวโหลดได้ที่ ติวเตอร์ดีดี Library
ติวเตอร์ดีดี แอทโฮม รับสอนพิเศษตามบ้าน ทุกวิชา ทุกระดับ ชั้น


ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล
อ้างอิงจาก http://www.thaigoodview.com/node/46868

รับสอนพิเศษถึงที่บ้าน โดยติวเตอร์จุฬาฯ Tel.085-3690298

ทุก Like เป็นกำลังใจให้เรา

ติดตามเราบน facebook

 
Top